ตอบ

    กำลังพลสำรอง เป็นบุคคลซึ่งเป็นทหารกองหนุนที่มีรายชื่อในบัญชีบรรจุกำลังของหน่วยตามข้อบังคับกระทรวงกลาโหม ว่าด้วยการเตรียมพล หรือบุคคลที่เป็นกำลังสำรองประเภทหนึ่งตามกฎหมายว่าด้วยการจัดระเบียบร่ชการกระทรวงกลาโหมที่มี การบรรจุในบัญชีบรรจุกำลังตามกฏหมายว่าด้วยกำลังพลสำรอง สรุปง่ายๆ คือ มาจาก นักศึกษาวิชาทหาร และ พลทหารกองประจำการที่ปลดเป็นกองหนุนแล้ว
    ทหารอาสา เป็นกำลังพลสำรองที่เข้าทำหน้าที่ทหารเป็นการชั่วคราว มีทั้งประเภทที่เป็นนายทหารสัญญาบัตร นายทหารประทวน และพลทหารประจำการ แต่ไม่ใช่อาสาสมัครทหารพราน

สามารถแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมได้ที่นี

ตอบ สามารถทำงานได้โดยมีสัญญาจ้างคราวละไม่เกิน 4 ปี โดยสามารถต่อสัญญาจ้างได้ตามความเหมาะสมและความจำเป็นของแต่ละส่วนราชการ แต่รวมระยะเวลาจ้างงานแล้วต้องไม่เกิน 8ปี เว้นบุคคลผู้นั้นมีอายุครบ 35 ปี สำหรับผู้ดำรงตำแหน่งชั้นสัญญาบัตร และครบ 30 ปี สำหรับผู้ดำรงตำแหน่งต่ำกว่าสัญญาบัตร ให้ถือว่าสัญญาจ้างสิ้นสุดลง

สามารถแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมได้ที่นี

ระหว่างการเข้ารับราชการ

  • - สิทธิประโยชน์ต่างๆ ได้แก่ การเลื่อนยศ, เบี้ยเลี้ยง, การเลื่อนชั้นเงินเดือน, และ ค่าตอบแทนอื่นๆ
  • - สิทธิได้รับการจัดเข้าพักอาศัยบ้านพักของทางราชการของหน่วยรับการบรรจุ
  • - สิทธิการรักษาพยาบาลของทหารอาสาจะใช้สิทธิได้เฉพาะตนเอง
  • ไม่รวมบิดา มารดา และบุตร

  • - สิทธิคะแนนเพิ่มพิเศษ กรณีสอบเข้ารับราชการใน ทบ. ให้คะแนนเพิ่มบุตรทหารอาสา
  • - ร้อยละ 2 - 10 คะแนน และให้คะแนนเพิ่มทหารอาสา ได้รับคะแนนเพิ่ม
  • - ร้อยละ 3 - 5 คะแนน (แล้วแต่กรณี)
  • สามารถแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมได้ที่นี

    ตอบ

    - การเรียกกำลังพลสำรองเข้ารับราชการทหาร หมายความว่า การนำ กำลังพลสำรอง เข้าปฏิบัติภารกิจตามอำนาจหน้าที่ของกระทรวงกลาโหม โดยการเรียกกำลังพลสำรอง เพื่อ ตรวจสอบ เพื่อฝึกวิชาทหาร เพื่อปฏิบัติราชการ หรือเพื่อทดลองความพรั่งพร้อม และในการระดมพล ตามกฎหมาย ว่าด้วยกำลังพลสำรอง ซึ่งประกอบด้วย การเรียกกำลังพลสำรองเข้ารับราชการทหารแบบไม่เต็มเวลา และการ เรียกกำลังพลสำรองเข้ารับราชการทหารแบบเต็มเวลา

    สามารถแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมได้ที่นี

    แผนกเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร กองทัพภาคที่ 3 | ติดต่อสอบถาม 73496